บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2018

ใบงานที่ 6 การควบคุม Servo Motor (SG90) ด้วย Arduino UNO R3

รูปภาพ
นางสาวกิตติญากร ขาวใบไม้ 6031280024 นางสาวกิตติมา อุดมปัญญาศิริกุล 6031280025 ปวส.1/2 คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ Servo คืออุปกรณ์มอเตอร์ ที่สามารถควบคุมการหมุนที่แม่นยำ เซอร์โวชุดนี้มีขนาดเล็กแรงบิด 1.2-1.4 KG/cm สีน้ำตาลเป็นสายกราวด์ สีแดงเป็นไฟเข้า 4.8-7.2V สีส้มเป็นสัญญาณอินพุต หมุนได้ 180 องศา ส่วนใหญ่ต่อเข้ากับ Pin ของ Arduino UNO R3 ที่สามารถใช้งาน PWM Signal ได้ เช่น D3 , D5 , D6 , D9 , D10 , D11  Servo เป็นคำศัพท์ที่ใช้กันทั่วไปในระบบควบคุมอัตโนมัติ มาจากภาษาละตินคำว่า Sevus หมายถึง “ทาส” (Slave) ในเชิงความหมายของ Servo Motor ก็คือ Motor ที่เราสามารถสั่งงานหรือตั้งค่า แล้วตัว Motor จะหมุนไปยังตำแหน่งองศาที่เราสั่งได้เองอย่างถูกต้อง โดยใช้การควบคุมแบบป้อนกลับ (Feedback Control) อุปกรณ์ โปรโตบอร์ด บอร์ดArduino Uno R3 สายไฟผู้ผู้ สายอัพโหลด ตัวต้านทาน Servo Motor (SG90) รูปวงจร https://drive.google.com/open?id=1dF5KQGZaS0eiEwDpAyWxhWigO-yqZedS Code ตัวอย่างที่ 1 https://drive.google.com/open?id=1zCjzIfepAt0cDMGKOrPFTNkjdDDviCJz //เขียนโปรแกรมควา

ใบงานที่ 5 HC-SR04 whit Buzzer

รูปภาพ
นางสาวกิตติญากร ขาวใบไม้ 6031280024 นางสาวกิตติมา อุดมปัญญาศิริกุล 6031280025 ปวส.1/2 คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ Buzzer บลัซเซอร์   คือ ลำโพงแบบแม่เหล็กหรือ แบบเปียโซที่มีวงจรกำเนิดความถี่ (oscillator ) อยู่ภายในตัว ใช้ไฟเลี้ยง 3.3 - 5V สามารถสร้างเสียงเตือนหรือส่งสัญญาณที่เป็นรูปแบบต่างๆ เราอาจจะเคยได้ยินเสียงบลัซเซอร์อยู่บ่อยๆ เช่น เสียง ปี๊บที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ก็ใช้บลัซเซอร์ในการส่งสัญญาณให้ทราบสถานะของคอมพิวเตอร์ให้ทราบว่ามีปัญหาอะไร ใบงานที่ 5 HC-SR04 with Buzzer ให้เขียนโปรแกรมให้ทำงานดังต่อไปนี้ - ถ้า ระยะวัตถุ ตั้งแต่ 21-30 ซม. ให้ Buzzer ส่งเสียงเตือนเป็นจังหวะ ติด 1 วินาที - ดับ 1 วินาที  - ถ้า ระยะวัตถุ ตั้งแต่ 11-20 ซม. ให้ Buzzer ส่งเสียงเตือนเป็นจังหวะ ติด 0.5 วินาที - ดับ 0.5 วินาที - ถ้า ระยะวัตถุ ตั้งแต่ 6-10 ซม. ให้ Buzzer ส่งเสียงเตือนเป็นจังหวะ ติด 0.2 วินาที - ดับ 0.2 วินาที - ถ้า ระยะวัตถุ ตั้งแต่ 5 ซม. ลงมา ให้ Buzzer ส่งเสียงเตือนติดยาวตลอด - ถ้า ระยะวัตถุ ตั้งแต่ 31 ซม. ให้ Buzzer ไม่เสียงเตือน และให้ LED แสดงผลตามจังหวะเสียงของ Buzzer ทั้งนี้ให้

ใบงานที่ 4 การใช้งานเซนเซอร์วัดระยะทาง HC-SR04

รูปภาพ
นางสาวกิตติญากร ขาวใบไม้ 6031280024 นางสาวกิตติมา อุดมปัญญาศิริกุล 6031280025 ปวส.1/2 คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ HC-SR04 เป็นโมดูลวัดระยะทางที่ใช้หลักการสะท้อนของคลื่นอัลตร้าโซนิก ราคาประหยัด โดยตัว HC-SR04 มีแหล่งกำเนิดคลื่นอัลตร้าโซนิกส่งไปสะท้อนกับวัตถุที่อยู่ข้างหน้ากลับมายังตัวรับสัญญาณ โดยระยะทางที่วัดได้จะสัมพันธ์กับระยะเวลาที่คลื่นอัลตร้าโซนิกเคลื่อนที่ไปกระทบวัตถุและสะท้อนกลับมายังตัวรับ เมื่อรู้ระยะเวลาที่คลื่นอัลตร้าโซนิกสะท้อนกลับมา จึงนำมาคำนวณหาเป็นระยะทางระหว่างโมดูล HC-SR04 กับวัตถุได้ โดยโมดูล HC-SR04 วัดระยะทางในช่วง 2 ถึง 500 ซม. (5 เมตร) มีความละเอียดอยู่ที่ 0.3 ซม. ใช้ไฟเลี้ยง +5V โมดูล HC-SR04 พร้อมกับสาย JST3AC-8 จำนวน 2 เส้น เพี่อเชื่อมต่อกับบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ ใบงานที่ 4 การใช้งานเซนเซอร์วัดระยะทาง HC-SR04 - ถ้า ระยะทางตั้งแต่ 21 – 30 ซม. Led สีเขียวติด 2 ดวง - ถ้า ระยะทางตั้งแต่ 11 – 20 Led สีเหลืองติด 2 ดวง (สีเขียว ยังคงติด) - ถ้า ระยะทางตั้งแต่ 6 -  10  Led สีแดงติด 2 ดวง  (สีเขียว และ เหลือง ยังคงติด) - ถ้า ระยะทาง น้อยกว่า 6 ให้ Led กระพริบท

ใบงานที่ 3 การแสดงค่าความเข้มของแสงด้วย 7-Segmet

รูปภาพ
นางสาวกิตติญากร ขาวใบไม้ 6031280024 นางสาวกิตติมา อุดมปัญญาศิริกุล 6031280025 ปวส.1/2 คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ LDR : Light Dependent Resistor)                      แอลดีอาร์ (LDR : Light Dependent Resistor)  คือ ความต้านทานชนิดที่ไวต่อแสง กล่าวคือ ตัวความต้านทานนี้สามารถเปลี่ยนสภาพทางความนำไฟฟ้า ได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ บางครั้งเรียกว่าโฟโตรีซีสเตอร์ ( Photo  Resistor)   หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์   (Photo Conductor)   เป็นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ   LDR เป็นตัวต้านทานที่ปรับค่าได้ตามความเข้มของแสง LDR เราสามารถใช้ Arduino อ่านค่าความต้านทานที่เปลี่ยนแปลงตามความเข้มของแสงเพื่อนำไปใช้งานที่ต้องการได้ โดยค่าที่อ่านได้เป็นแบบ อะนาล็อก Symbol of LDR: อุปกรณ์ที่ใช้ วงจรที่ 1 โปรโตบอร์ด บอร์ดArduino Uno R3 สายไฟผู้ผู้ สายอัพโหลด ตัวต้านทาน LDR หลอดไฟ LED รูปวงจรที่ 1 https://drive.google.com/open?id=1-b6s03y4aXX3Wilv5rxnLN7reGa37wn8 ตัวอย่าง ให้ LED แสดงผลตามค่าที่ LDR ดังนี้ ถ้า Serial แสดงผล dark ไปหลอดที่ 1 ติด ไฟหลอดที่เหลือดับ ถ้า Serial แสดงผล dim ไป

ใบงานที่ 2 SwitchCase การแสดงผสบน 7-Segment

รูปภาพ
นางสาวกิตติญากร ขาวใบไม้ 6031280024 นางสาวกิตติมา อุดมปัญญาศิริกุล 6031280025 ปวส.1/2 คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ 7 Segment คืออะไร 7 Segment คือหน้าจอแสดงผลตัวเลข - ตัวอักษร (ได้บางตัว) ที่มีหน้าจอทำมาจากการจัดวางหลอด LED ในแนวยาว เมื่อทำให้หลอด LED แต่ละดวงติดพร้อมกัน ก็จะทำให้แสดงออกมาเป็นตัวเลขทรงเหลี่ยมได้ รูปร่างหน้าตาของ 7 Segment 1 หลัก (ขอบคุณรูปภาพจากเว็บไซต์  tandyonline.co.uk ) รูปแสดง 7 Segment ที่แสดงผลออกมาเป็นตัวเลขต่างๆ (ขอบคุณรูปภาพจาก  maruen.tistory.com แสดงขาของ 7 Segment (ขอบคุณรูปภาพจาก  projectcircuitpack.yolasite.com ) การแบ่งแยก 7 Segment แบ่งตามขา Common Common Anode - ขาคอมม่อนจะต้องต่ออยู่กับขั่วบวก แล้วขาอื่นๆ ต่ออยู่กับกราว์ด จึงจะทำให้ส่วนนั้นๆติดสว่าง Common Cathode - ขาคอมม่อนจะต้องต่ออยู่กับขั่วลบ แล้วขาอื่นๆ ต่ออยู่กับขั้วบวก จึงจะทำให้ส่วนนั้นๆติดสว่าง แบ่งตามขนาด 7 Segment มีด้วยกันหลายขนาด ขนาดที่เป็นมาตรฐานใช้งานทั่วไปคือขนาด 0.56 นิ้ว มีขนาดเล็กกว่า หรือใหญ่กว่าให้เลือกใช้งานด้วย แบ่งตามจำนวนตัวเลข ใน 7 Segment อา

ใบงานที่ 1 ไฟวิ่ง 8 ดวง

รูปภาพ
นางสาวกิตติญากร ขาวใบไม้ รหัส 6031280024 นางสาวกิตติมา อุดมปัญญาศิริกุล รหัส 6031280025 ระดับชั้น ปวส.1/2 คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ที่ใช้ ไฟ LED 8 ดวง โปรโตบอร์ด บอร์ด Arduino Uno R3 สายอัพโหลด ตัวต้านทาน 220 Ω 8 ตัว Computer หรือ Notebook ที่มีโปรแกรมArduino รูปวงจร   https://drive.google.com/open?id=1xbSub-QqQF6I1ei3a5u2D4Y5nw95DT8l https://drive.google.com/open?id=11lgSZZah58zKP4rLTH1GTZnJNtQJcc0A ตัวอย่าง เป็น Code ควบคุมไฟ LED ให้ติดไล่จากด้านในออกมาด้านนอก Code int LED1 = 3; int LED2 = 4; int LED3 = 5; int LED4 = 6; int LED5 = 7; int LED6 = 8; int LED7 = 9; int LED8 = 10; void setup() { pinMode(LED1,OUTPUT); pinMode(LED2,OUTPUT); pinMode(LED3,OUTPUT); pinMode(LED4,OUTPUT); pinMode(LED5,OUTPUT); pinMode(LED6,OUTPUT); pinMode(LED7,OUTPUT); pinMode(LED8,OUTPUT); } void loop() { digitalWrite(LED4,HIGH); digitalWrite(LED5,HIGH); delay(300); digitalWrite(LED4,LOW); digitalWrite(LED5,LOW);

เทคนิคการอินเตอร์เฟส (Interfacing Techich)

รูปภาพ
เทคนิคการอินเตอร์เฟส (Interfacing Technich) การอินเตอร์เฟส คือ การลิงค์เชื่อมโยงระหว่าง 2 อุปกรณ์เข้าด้วยกัน โดย อุปกรณ์ที่นำมาลิงค์เพื่อเชื่อมโยงสื่อสารนั้น ไม่จำเป็นต้องมาจากผู้ผลิตรายเดียวกัน เสมอไป อาจเป็นอุปกรณ์ต่างยี่ห้อ ต่างผู้ผลิต แต่สามารถนำมาใช้งานร่วมกันได้ ดังนั้นจึงต้องมีการกำหนดมาตรฐานเพื่อเป็นข้อกำหนดเฉพาะของอินเตอร์เฟสนั้นๆ ซึ่งประกอบด้วยข้อก าหนดต่างๆ ดังนี้ ข้อกำหนดทางกลไก ที่กล่าวถึงรูปทรงและขนาดของคอนเน็กเตอร์  ข้อกำหนดทางไฟฟ้า ที่กล่าวถึงความถี่ แอมพลิจูด และเฟสของสัญญาณที่ คาดหมายไว้  ข้อกำหนดด้านฟังก์ชันการท างาน ที่กล่าวถึงสายสัญญาณแต่ละเส้นมี หน้าที่อะไร ข้อกำหนดด้านขั้นตอนการท างาน ที่กล่าวถึงการควบคุมจังหวะและ ขั้นตอนการแลกเปลี่ยนข้อมูล DTE – DCE อินเตอร์เฟส              DTE  (Data Terminal Equipment) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเป็นตัวส่งข้อมูลและตัวรับข้อมูล หรืออาจเป็นทั้งตัวส่งข้อมูลและตัวรับข้อมูลก็ได้ อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในลักษณะของ DTE มักใช้แทนแหล่งกำเนิดข้อมูลต้นทางแหล่งแรก หรือแหล่งรับข้อมูลปลายทางแหล่งสุดท้าย เช่น คอมพิวเตอร์ (แหล่งกำหนดข้อ